กำแพงแห่งสงครามเย็น

            วันนี้แอดมินก็จะพาทุกท่านมาทำความรู้จักกับ กำแพงแห่งสงครามเย็น หรือว่ากำแพงเบอร์ลินที่เป็นที่เลื่องลือกันค่ะ นอกจากที่สงครามจะทิ้งบาดแผลหรือว่าความทรงจำหลายเหตุการณ์ที่ถูกจาลึกบนหน้าประวัติศาสตร์ เรามาดูความน่าสนใจของเรื่องนี้ไปพร้อมกันได้เลยค่ะ แต่ก่อนที่จะไปแอดมินก็ขอฝากให้ไปติดตาม ฟองสบู่ที่ดิน มาเร็วกว่าที่คิด แล้วก็ขอขอบคุณ ufa168bet ที่สนับสนุนเราวันนี้ด้วยค่ะ

กำแพงแห่งสงครามเย็น กำแพงเบอร์ลิน

กำแพงแห่งสงครามเย็น
กำแพงอันเก่า

            ก่อนอื่นเลยแอดมินก็จะมาเล่าถึงจุดกำเนิดกันก่อนเลยนะคะ ในปี 1961 หลังจากที่ประเทศเยอรมันได้ยอมแพ้ให้กับสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 2 ทางสาธารณะรัฐประชาธิปไตยเยอรมันนี ได้ตัดสินให้มีการก่อสร้างกำแพงแห่งนี้ขึ้นค่ะ เพื่อป้องกันไม่ให้ขบวนการฟาสซิส กลุ่มคนกลุ่มน้อยที่กุมอำนาจของคนกลุ่มใหญ่ทางประเทศของทางฝั่งเยอรมันตะวันตก ได้เข้ามาในฝั่งของเยอรมันตะวันออก

เพื่อบ่อนทำลายระบบสังคมนิยมของรัฐที่กิจกรรมที่ยิมส่วนใหญ่ของรัฐ ถูกดำเนินการในหน่วยงานต่างๆ ที่อยู่ภายใต้การดูแลของรัฐบาล แต่ความจริงแล้วตั้งแต่ก่อนที่จะมีการสร้างกำแพงแห่งนี้ขึ้นมา ประเทศนี้นั้นก็ถูกแบ่งออกเป็นสองฝั่งมาตั้งแต่ปี 1949 แล้วโดยประเทศเยอรมันได้แบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆ นั่นก็คือสหพันธสาธารณรัฐเยอรมันนี หรือฝั่งเยอรมันตะวันตก ที่ถูกควบคุมโดยประเทศอังกฤษ อเมริกา

และฝรั่งเศส และอีกฝั่งนึงก็คือสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี หรือฝั่งเยอรมันตะวันออก ที่ถูกควบคุมโดยสหภาพโซเวียต ซึ่งหลังจากที่ประเทศเยอรมันถูกแบ่งออกเป็นสองฝั่ง ประชาชนของฝั่งตะวันออกก็ตกอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสาภาพโซเวียต ที่เข้มงวดกับประชาชนมาก จนถึงขั้นมีการควบคุมพฤติกรรมของประชาชนทำให้ประชาชนหลาย 1000 คนได้แอบลักรอบข้ามพรมแดนไปยังฝั่งเยอรมันตะวันออก

กำแพงแห่งสงครามเย็น
ปัจจุบัน

จนในปี 1952 ทางสาภาพโซเวียตก็ได้สั่งให้มีการปิดพรมแดนของฝั่งเยอรมันตะวันตกที่ติดอยู่กับฝั่งแต่ตะวันออก กำแพงเบอร์ลินก็ได้ถูกสร้างขึ้นมานั่นเองค่ะ นอกจากนั้นกำแพงยังมีความสูงถึง 155 กิโลเมตรและสูงถึง 4 เมตร กำแพงนี้ประกอบไปด้วยแนวกำแพงสองแนว ที่ยาวขนานกันออกไป ซึ่งการของกำแพงจะมีช่องว่างที่ยาวไปตามแนวของกำแพงทั้งสองฝั่ง ซึ่งบริเวณนี้จะเป็นบริเวณที่มีทหาร

และเจ้าหน้าที่คอยลาดตระเวน และโครงการอยู่ตลอดเวลารวมไปถึงมีการวางกับระเบิด เพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนจากฝั่งเยอรมันตะวันออก แอบลักรอบข้ามผมแดนไปได้สำเร็จ และตั้งแต่ปี 1961 จนถึงปี 1989 ก็มีการสร้างหอสังเกตการณ์มากขึ้นทุกปี จนกระทั่งในที่สุดในปี 1989 ตลอดทั้งแนวยาวของกำแพงเบอร์ลิน ก็มีหอสังเกตการณ์มากถึง 302 แห่งและกลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศเยอรมันนี

และถูกเรียกขานว่าเป็นแม่เหล็กแห่งเยอรมันนี แต่สำหรับผู้คนในฝั่งตะวันออกหากติดอยู่หลังกำแพงที่ถูกสร้างขึ้นโดยสหภาพโซเวียต กำแพงนี้ก็ไม่ต่างอะไรจากคุกที่ขังพวกเขาไว้ข้างในเลยค่ะ

🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧 🚧