ค่าไฟกำลังเเพงขึ้น

เพราะอะไร ค่าไฟกำลังเเพงขึ้น ทำไมค่าไฟถึงได้แพงมากยิ่งขึ้น มันควบคุมไม่ได้จริงๆหรอ และมันมีเหตุผลอะไร ที่อยู่เบื้องหลังประเด็นนี้กันแน่ สามารถติดตามประเด็นเหล่านี้ ได้ภายในบทความนี้ ขอขอบคุณผู้ใญ่ใจดี บาคาร่า 168 ค่าไฟแพงก๊าซธรรมชาติ ขาดแคลน ดันต้นทุนพุ่ง จากสาเหตุปัญหาค่าไฟที่แพงขึ้น จนถึงนายกประเทศไทยในช่วงเวลานั้น แนะนำให้ไปศึกษาธรรมะ หลักธรรมอริยสัจ 4 เอาธรรมะเข้ามาช่วยกันเลยทีเดียว เราไปดูกันเลยดีกว่าว่า  สาเหตุที่แท้จริง ที่ทำให้ค่าไฟมันแพงขึ้น ทำให้ประชาชนนั้นเกิดความทุกข์ เพราะว่าต้องแบกรับต้นทุนแบกรับ ค่าใช้จ่ายที่มันสูงมากแบบนี้ มันเป็นเพราะสาเหตุอะไร และจะมีทางแก้ปัญหานี้อย่างไรบ้าง ในสี่เดือนสุดท้ายของปี 2022 นี้ค่าไฟจะแพงมากยิ่งขึ้น จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.72 บาทต่อหน่วย คือเพิ่มขึ้น 68.66 สตางค์ต่อหน่วย อย่าลืมกลับไปติดตาม เที่ยวสิ่งมหัศจรรย์ทางธรรมชาติ

🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀

ค่าไฟกำลังเเพงขึ้น
เหตุเเห่งความทุกข์ของคนไทย

ค่าไฟกำลังเเพงขึ้น

คนไทยต้องพบเจอ

ซึ่งหน่วยงานที่ทำหน้าที่ ขึ้นค่าไฟของเรานั้นก็คือ สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน หรือว่า กกพ มีอำนาจการคืนค่าเอสที หรือค่าไฟฟ้าผันแปร ซึ่งเป็นสิ่งที่สะท้อน ต้นทุนการผลิตไฟฟ้า ที่ไม่สามารถควบคุมได้ ยกตัวอย่างเช่น ราคาเชื้อเพลิง เงินเฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ในช่วงเวลานั้นนั้น ซึ่งค่าเอสที่นี่เองจะต้อง อัพเดทบ่อยบ่อยทุก 4 เดือน และเมื่อค่าปรับคืนค่าไฟของเรา ก็จะแพงขึ้น

แต่กลับกัน เมื่อค่าปรับลง ค่าไฟของเราก็จะถูกลง เราสามารถดูค่าเอฟทีได้ ในบิลค่าไฟของเรา ในแต่ละเดือน และคราวนี้สาเหตุที่ทำให้ประเทศไทย จะต้องคืนค่าไฟ สาเหตุก็เป็นเพราะว่าประเทศไทยของเรา กำลังขาดแคลนก๊าซธรรมชาตินั่นเอง ซึ่งก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลัก ในการนำมาผลิตไฟฟ้า ปกติแล้วประเทศไทย สามารถผลิตก๊าซธรรมชาติ ได้เองราวๆ ประมาณ 66% เลยทีเดียว

ค่าไฟกำลังเเพงขึ้น
ปรับขึ้นมาหลายปีเเล้ว

แต่ว่าตอนนี้ก๊าซธรรมชาติ มันกลับขาดแคลน ซึ่งสาเหตุหลักๆ มันมาจากอ่าวไทยในแหล่งเอราวัณ ซึ่งก๊าซธรรมชาติเป็นต้นทุน ที่มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอด ใช่ค่ะ มันคือต้นทุนผันแปรนั่นเอง ซึ่งตอนนี้แหล่งหลัก อย่างเอราวัณ กำลังพบเจอกับปัญหาเปลี่ยนผ่าน จากผู้รับสัมปทาน กำลังเปลี่ยนเป็นรายใหม่ โดยในช่วงรอยต่อนี้เอง มีระยะเวลาการผลิตที่ไม่ต่อเนื่อง

ทำให้ขาดแคลน จึงจะต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศ อย่างประเทศเมียนมาร์ ประเทศเพื่อนบ้านของเรา ประเทศไทยนำเข้าก๊าซธรรมชาติ จากประเทศเมียนม่าประมาณ 16% นอกจากนี้ยังนำเข้า ในรูปแบบของก๊าซธรรมชาติเหลว จากต่างประเทศอีก 18% สิ่งที่น่ากังวลก็คือ การนำเข้าก๊าซธรรมชาติจากเมียนมาร์ ไม่สามารถผลิตได้ตามกำลังผลิตเดิม ซึ่งถ้าไม่มีการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนต่อไป เรียกได้ว่าเราจะต้องเผชิญปัญหาการเสียรายได้ที่เพิ่มขึ้นต่อไปแน่นอน

🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀 🦀