Mohenjo Daro

            วันนี้แอดมินจะพาทุกท่านมาทำความรู้จักกับเมืองสาบสูญ Mohenjo Daro แห่งลุ่มแม่น้ำสินธุกันค่ะ เมืองแห่งนี้เป็นเมืองสาบสูญที่มีความเก่าแก่เป็นอย่างมาก จะมีประวัติความเป็นมาอย่างไร เดี๋ยววันนี้แอดมินก็จะมาเล่าให้ฟังกันค่ะ แต่ก่อนที่จะไป แอดมินก็ต้องขอฝากให้ไปติดตาม Kaieteur Falls กันด้วยนะคะ ในวันนี้แอดมินก็ต้องขอขอบคุณ  Ufath168 ที่สนับสนุนบทความของเราในวันนี้ด้วยค่ะ

Mohenjo Daro เมืองวโบราณที่หายสาบสูญแห่งลุ่มแม่น้ำสินธุ

            ช่วง ระหว่าง 1500 ถึง 1700 ปีก่อนคริสตกาล มีอารยธรรมนึงที่เจริญรุ่งเรืองอยู่รอบแม่น้ำสินธุ และแม่น้ำสาละเสาวดี เรียกว่าอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ ที่ภายหลังในผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า อารยธรรมดังกล่าว มีอายุย้อนกลับไปประมาณ 6000 ปีก่อนคริสตกาล และการเปลี่ยนแปลงทางสภาพพูมิอากาศ ซึ่งเป็นสมมุติฐานซึ่งได้รับความนิยมก่อนหน้านี้ อาจไม่ใช่สาเหตุของการเสื่อมโทรมลง

ในปี 1922 ได้มีการค้นพบเมืองแห่งนี้เป็นเมืองหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุดของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินทุ ด้วยผังเมืองจะแบ่งออกเป็นส่วนที่อยู่อาศัย ส่วนอุตสาหกรรม และส่วนของการผลิต มีป้อมปราการอยู่ทางทิศตะวันตก และถนนแคบล้อมรอบด้วยแรมระบายน้ำ ที่ยึดติดกับข้างกำแพงสูงของบ้านเรือน ซึ่งป้อมปราการบนแท่นสูง 12 เมตรนี้ ตั้งอยู่ใกล้กับสระน้ำสาธารณะ ที่ชุมชนสาธารณะ บ่อน้ำ อาคาร บ้านเรือน

และยุ้งฉางขนาดใหญ่ ส่วนทางตะวันตกของเมือง เป็นโซนที่พักอาศัยบ้านส่วนใหญ่ จะมีขนาดใหญ่ประกอบไปด้วยห้องน้ำ ห้องสุขา ระบบระบายน้ำ และบ่อน้ำที่ซับซ้อน ถ้าหากบ้านหลังไหน ที่มีรั้วรอบขอบชิด จะเป็นที่อยู่สำหรับชนชั้นสูง ซึ่งความแตกต่างระหว่างบ้านพักของชนชั้นสูง กับคนงานนั้น บ่งบอกถึงการมีอยู่ของโครงสร้างชนชั้น วรรณะ นอกจากนี้การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าไปยังเมโสโปเตเมีย

และอารเบีย ยังเป็นเครื่องยืนยัน ถึงการค้าที่แพร่หลาย แต่พัฒนาและเติบโตอย่างโดดเดี่ยว แตกต่างจากอารยธรรมอย่างอียิปต์และเมโสโปเตเมีย เป็นเมืองได้พบกันโครงสร้างหินขนาดใหญ่ จำพวกวิหารหรือพระราชวัง สิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยพบเคยยุ้งฉางเท่านั้น ในปัจจุบันกำแพงหินโคลนของเมืองตกอยู่ในอันตราย เนื่องจากน้ำซึมเข้าไปในผนังทำให้แตกเป็นเสี่ยงๆอีกทั้งแผ่นจารึกที่พบ

และหินตาประทับดินเหนียวหลาย 1000 ชิ้น ก็ยังไม่ได้รับการถอดรหัสและยังคงเป็นปริศนา ที่ยังไม่รับการแก้ไขจนถึงปัจจุบันเลยค่ะ

🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰 🏰