Taxila

            วันนี้แอดมินก็จะพาทุกท่านมาท่องเที่ยว Taxila นั่นเองค่ะ เนื่องจากว่าในประวัติศาสตร์ของปากีสถานซึ่งเคยเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างเอเชียและยุโรป บนเส้นทางสายไหมยุคโบราณ และดินแดนบางส่วนเคยถูกยึดครองจากหลายๆอาณาจักร เดี๋ยวเรามาดูความน่าสนใจของที่นี่ไปพร้อมกันค่ะ แต่ก่อนที่จะไป แอดมินก็ขอฝากให้ไปติดตาม Ito อีกหนึ่งเมืองท่องเที่ยวที่น่าสนใจของประเทศญี่ปุ่นกันด้วยนะคะ แล้วในวันนี้แอดมินก็ต้องขอขอบคุณ เบทฟิก ที่สนับสนุนบทความของเราในวันนี้ด้วยนะคะ

🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻

Taxila อารยธรรมของพุทธศาสนาในปากีสถาน

          ที่นี่เคยเป็นดินแดนที่พระพุทธศาสนาเคยมีความเจริญรุ่งเรืองก่อนที่จะเสื่อมสลาย และทิ้งหลักฐานไว้ตามโบราณสถาณ โดยเฉพาะในเมืองตักกะศิลา ซึ่งเคยเป็นศูนย์รวมแหล่งศึกษาที่สำคัญของชมพูทวีป วันนี้แอดมินก็เลยจะพาทุกท่านมารู้จักกับเมืองแห่งนี้กันในประเทศปากีสถานกันค่ะ เมืองแห่งนี้ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของปากีสถาน อยู่เหนือเมืองหลวงอิสลามาบัดขึ้นไปประมาณ 30 กิโลเมตร

ในอดีตเมืองแห่งนี้เป็นเมืองสำคัญในแคว้นคันธาลักของดินแดนชมพูทวีป เป็นศูนย์รวมของสำนักศึกษาศิลปะวิทยาการแขนงต่างๆ ในบันทึกของศาสนาพุทธ เพราะว่าบุคคลสำคัญล้วนเคยศึกษาเล่าเรียนในสำนักแห่งนี้ แต่แท้ที่จริงแล้วพัฒนาการของเมืองแห่งนี้ มีจุดเริ่มต้นมาตั้งแต่สมัยก่อนพุทธกาลแล้วค่ะ นักโบราณคดีชาวฝรั่งเศส ได้สรุปพัฒนาการของเมืองแห่งนี้เอาไว้ว่า เมืองแห่งนี้มีสถานะสำคัญในยุคหินใหม่

จนถึงยุคอาณาจักรอาเคมิเนี่ยนว่าช่วง 300 ปีก่อนคริสตการ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ได้แผ่อำนาจมาปกครองดินแดนชมพูทวีป บริเวณที่เป็นปากีสถาน และอาฟกานิสถานในปัจจุบัน จนถึงช่วงที่ราชวงศ์โมริยะมาปกครอง ช่วงนี้เองที่พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงสถาปนาให้พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาประจำแคว้นโดยในช่วง 200 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์ได้ทรงสร้างวัดและสถูปเจดีย์เอาไว้ทั่วเมืองตักกะศิลา

และหนึ่งในหลักฐานสำคัญที่ยังหลงเหลืออยู่ เช่นสทูปธรรมมาธิกะ หลังพระเจ้าอโศกสิ้นพระชนม์ราชวงศ์โมริยะเสื่อมอำนาจลง ตักกะศิลาถูกเปลี่ยนการปกครอง โดยอาณาจักรที่รายล้อมทั้งชาวกรีก และชาวเอเชียกลาง จนเมื่อเราคริสต์ศักราช 100 ซึ่งเป็นช่วงที่ราชวงศ์เข้ามาปกครองตรรกะศิลาพระเจ้ากนิดซะกะส่งรื้อฟื้นพระพุทธศาสนาจนรุ่งเรืองขึ้นมาอีกครั้งเกิดศิลปรูปแบบใหม่

เรียกว่าศิลปะแลบคันธาระนั่นเองค่ะ นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาศาสนาพุทธะนิกายมหายาน รวมถึงสร้างวัดต่างๆ ซึ่งมีหลักฐานสำคัญได้แก่วัดจูเลี่ยนกล่าวได้ว่ายุคทองของศาสนาพุทธ ในเมืองตักกะศิลาเกิดขึ้นในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช และพระเจ้ากนิษะกะ ภายใต้การล้อมรวมระหว่างอารยธรรมกรีก และเอเชียใต้ที่แผลขยายอิทธิพลในบริเวณนี้ค่ะ

🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻 🙏🏻